แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษามลายู คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีการศึกษา 2562
Sign in to Google to save your progress. Learn more
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
คำชี้แจง กรุณาเลือกช่องที่ตรงกับความเป็นจริงของท่าน
1. ปัจจุบันท่านดำรงตำแหน่ง *
2. วุฒิการศึกษาสูงสุดของท่าน *
3. ประเภทหน่วยงานของท่าน *
ตอนที่ 2 ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต
5  หมายถึง ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด
4  หมายถึง ระดับความพึงพอใจ มาก
3  หมายถึง ระดับความพึงพอใจ ปานกลาง
2  หมายถึง ระดับความพึงพอใจ น้อย
1  หมายถึง ระดับความพึงพอใจ น้อยที่สุด
1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม *
5
4
3
2
1
ความมีระเบียบวินัย/ตรงต่อเวลา
ความซื่อสัตย์สุจริต ขยัน อดทน และสู้งาน
ความเสียสละเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม
การแสดงออกถึงการเคารพสิทธิและการรับฟังความเห็นชอบของผู้อื่น
ความมีน้ำใจเอื้อเฝื้อเผื่อแผ่ต่อเพื่อนร่วมงานและผู้อื่น
2. ด้านความรู้ ความสามารถทางวิชาการ *
5
4
3
2
1
มีองค์ความรู้ในสาขาวิชาที่เรียนและเข้าใจขั้นตอนการปฏิบัติงาน
สามารถนำความรู้ประยุกตใช้ในการปฏิบัติงานอย่างสร้างสร้างสรรค์
ความสามารถถ่ายทอดและเผยแพร่ความรู้
ความรอบรู้ การเพิ่มพูน หรือการต่อยอดความรู้
3. ด้านทักษะทางสติปัญญา *
5
4
3
2
1
ความสามารถวางแผนการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นระบบ
ความสามารถในการวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา และการตัดสินใจ
ความคิดสร้างสรรค์ กล้าแสดงออกในการทำาน
สามารถแสวงหาความรู้ใหม่และพัฒนาตนเองได้
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ *
5
4
3
2
1
ความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ
ผู้บังคับบัญชาและเพื่อนร่วมงานให้การยอมรับ
ความสามารถในการปรับตัว การทำงานเป็ฯทีม รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น
การปฏิบัติตนตามกฏหมาย สัญญา และข้อตกลง
5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี *
5
4
3
2
1
มีทักษะการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย
มีความสามารถในการสื่อสาร และการใช้ภาษาไทยในการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม
มีทักษะในการใช้ภาษาต่างประเทศในการปฏิบัติงานอย่างเหมาะสม
การประยุกต์ใช้เทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ในการวิเคราะห์ข้อมูลในการทำงาน
6. ความพึงพอใจภาพรวมที่สะท้อนคุณลักษณะเด่นตามอัตลักษณ์และบัณฑิตที่พึงประสงค์ *
5
4
3
2
1
ภูมิปัญญา (อัตลักษณืที่เป็นจุดเน้น คือ เก่งไอที) บัณฑิตมีความสามารถในการใช้โปรแกรมพื้นฐานในการปฏิบัติงาน สามารถสืบค้นและสื่อสารผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้
ภูมิรูปธรรม (อัตลักษณ์ที่เป็นจุดเน้น คือ จิตอาสา และสู้งาน) บัณฑิตเป็นผู้มีจิตใตเป็นผู้ให้ เต็มใจในการทำงาน และไม่เลือกงาน
ภูมิฐาน (อัตลักษณ์ที่เป็นจุดเน้น คือ สื่อสารภาษามลายูได้) บัณฑิตสามารถใช้ภาษามลายูกลางในการสื่อสารได้
ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง
Submit
Clear form
Never submit passwords through Google Forms.
This content is neither created nor endorsed by Google. Report Abuse - Terms of Service - Privacy Policy