
ประธานหลักสูตร
ข่าวทุนการศึกษา
2.ผลงานแต่งหรือเรียบเรียง ตำรา หนังสือ หรือบทความทางวิชาการ (ไม่มี)
2.1 ผลงานแต่งหรือเรียบเรียง
2.2 ตำรา หนังสือ
2.3 บทความทางวิชาการ
2.4 ในวารสารทางวิชาการ
2.5 ในหนังสือรวมบทความที่มีการบรรณาธิการประเมินและตรวจสอบ
2.6 ใน Proceeding ของการประชุมทางวิชาการที่มีการบรรณาธิการประเมินและตรวจสอบ
3. บทความวิจัยในวารสารทางวิชาการวรเวทย์พิสิษ ยศศิริ. (2561). การศึกษาการสลับภาษามลายูถิ่นปัตตานี-ภาษาไทย-ภาษาอังกฤษในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารปาริชาต, 31(3), 24-33.ฮัลวาร์ อุทาย, มาเรีย หะระตี, ฮัสนียา มะดือเระ และวรเวทย์พิสิษ ยศศิริ. (2561). ลักษณะการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษของนักเรียนออทิสติก. วารสารปาริชาต, 31(3), 81-88.วรเวทย์พิสิษ ยศศิริ, นิชาภัทรชย์ รวิชาติ, มูฮำหมัดสุกรี ฮะยีสะนิ, นิปัทมา การะมีแน, จิตสุดา ละอองผล, สมิทธิ์ วงศ์วิวัฒน์, วันทนี แสงคล้ายเจริญ, และ Mercy T. Concepcion. (2560). การศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณลักษณะอาจารย์ในระดับอุดมศึกษาที่พึงประสงค์ต่อการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาภาษาอังกฤษของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา, 12 (ฉบับพิเศษ), 86-99.Ahmed, M. C., Yosstorn, Y., Yossiri, V. (2012). Students’ Attitudes towards Teachers’ Using Activities in EFL Class. International Journal of Academic Research in Business and Social Sciences, 2, 158-164.
3.1 บทความวิจัยในหนังสือรวมบทความที่มีการบรรณาธิการประเมินและตรวจสอบ (ไม่มี)
3.2 บทความวิจัยใน Proceeding ของการประชุมทางวิชาการที่มีการบรรณาธิการประเมินและตรวจสอบมูฮําหมัดสุกรี หะยีสะนิ, นิปทมา การะมีแน, จิตสุดา ละอองผล, นิชาภัทรชย รวิชาติ, วันทนี แสงคลายเจริญ, วรเวทยพิสิษ ยศศิริ และสมิทธ วงศวิวัฒน. (2561). การศึกษากลวิธีการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศของนักศึกษาชั้นปที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. ใน การประชุมประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 28 ประจำปี 2561 (น. 350-357). สงขลา: มหาวิทยาลัยทักษิณ.เพนนี แบซา, ฟาตีฮะห กีโตะ, กูพารีดะ กูบูโด, มูฮําหมัดสุกรี หะยีสะนิ และวรเวทยพิสิษ ยศศิริ. (2561). ปัญหาและอุปสรรคดานทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาชั้นปที่ 1 หลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ. ใน การประชุมประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 28 ประจำปี 2561 (น. 1726-1733). สงขลา: มหาวิทยาลัยทักษิณ.อัสมาณี ฮะกือลิง, รีดาห์ วานิ, รอฮายา เยาะ และวรเวทยพิสิษ ยศศิริ(2561). การธำรงภาษามลายูถิ่นปัตตานีของกลุ่มชาติพันธุ์มลายูในชุมชนบ้านลำลอง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา. ใน การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 9 (น. 1-12). สงขลา:มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.ฟาดีละห์ โต๊ะมีลา, นาเดียร์ กาเซ็ง, ลุกมาน แวมะไซ และวรเวทย์พิสิษ ยศศิริ.(2561). ลักษณะภาษาสแลงในซีรี่ส์“ไดอารี่ ตุ๊ดซี่ส์เดอะซีรี่ส์”. ใน การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 9 (น. 100-110). สงขลา: มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.รุสนี มะแซ, มูซัยนะห์ สาแม็ง, ซูรียาตี มานี, จิตสุดา ละอองผล และวรเวทย์พิสิษ ยศศิริ. (2561). การวิเคราะห์กลวิธีการแปลชื่อภาพยนตร์ฮอลลีวู้ดจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย. ใน การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 9 (น. 111-118). สงขลา: มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.เกศนีย์ มากช่วย ,อามานี สามะอะ, ซีฮัม อุมา, วรเวทย์พิสิษ ยศศิริ และมูฮำหมัดสุกรี หะยีสะนิ. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความวิตกกังวลในการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาชั้นปีที่ 3 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. ใน การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 9 (น. 131-143). สงขลา: มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.ฟัดลีนา ยูโซะ, อิสตีซัน สุหลง, สุไรยา ยูโซ๊ะ, นิปัทมา การะมีแน และวรเวทย์พิสิษ ยศศิริ. (2561). การศึกษาลักษณะการใช้สื่อกับกระบวนการการเรียนการสอนในรายวิชาภาษาอังกฤษของ โรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดยะลา. ใน การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 9 (น. 298-309). สงขลา: มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.ซารีณา นอรอเอ, นุรอัซวีตา จารง, ณฐพร มุสิกเจริญ และ วรเวทย์พิสิษ ยศศิริ. (2561). ลักษณะการใช้ภาษาบนสื่อสังคมออนไลน์ของวัยรุ่นไทยในปัจจุบัน. ใน การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 9 (น. 940-952). สงขลา: มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.นูรีดา เจ๊ะสามอเจ๊ะ, วันไซหนับ สามะอาลี, นูรซอลีฮา นิระเฮง, นิชาภัทรชย์ รวิชาติ และวรเวทย์พิสิษ ยศศิริ. (2561). การทับศัพท์ภาษาอังกฤษในวรรณกรรมสำหรับเยาวชนรางวัลซีไรต์. ใน การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 9 (น. 953-961). สงขลา: มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.มูฮําหมัดสุกรี หะยีสะนิ, นิปัทมา การะมีแน, และ วรเวทย์พิสิษ ยศศิริ. (2560). การศึกษารูปแบบการใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีในการส่งเสริมทักษะการเรียนการสอนในรายวิชาภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 27 ประจําป 2560 และการประชุมวิชาการระดับชาติด้านบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร ครั้งที่ 3 (น.764-771). สงขลา: มหาวิทยาลัยทักษิณ.Lovett, D. & Yossiri, V. (2016). The Writing Difficulties Faced By EFL Students in Intermediate English Writing. Proceeding of The 5th National and International Conference (pp. 833-839). Yala: Yala Rajabhat University.
b ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นและได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนด (ไม่มี)
4. สิ่งประดิษฐ์หรืองานสร้างสรรค์
4.1 ผลงานด้านศิลปะ
4.2 สารานุกรม
4.3 งานแปล
c. ผลงานวิชาการรับใช้สังคมและได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนด (ไม่มี)
5. ประสบการณ์การสอน
5.1 ระดับปริญญาตรี 5 ปี
ชื่อวิชา ภาษาอังกฤษและภาษาศาสตร์เบื้องต้น 3(2-2-5) นก.
ชื่อวิชา ภาษาศาสตร์ทฤษฎีเชิงวิเคราะห์เบื้องต้น 3(3-0-6) นก.
ชื่อวิชา การศึกษาเอกเทศภาษาอังกฤษ 3(3-0-6) นก.
ชื่อวิชา การอ่านเชิงวิชาการ 3(3-0-6) นก.
ชื่อวิชา การวิจัยในชั้นเรียนภาษา 3(2-2-5) นก.
ชื่อวิชา การเขียนขั้นกลาง 2(1-2-3) นก.
ชื่อวิชา การอ่านขั้นกลาง 2(1-2-3) นก.
ชื่อวิชา ภาษาศาสตร์เบื้องต้น 2(2-0-4) นก.
ชื่อวิชา ภาษาศาสตร์ประยุกต์ 3(2-2-5) นก.
ชื่อวิชา ภาษาศาสตร์สำหรับครูสอนภาษาอังกฤษ 2(2-0-4) นก.
ชื่อวิชา วจีวิภาคและวากยสัมพันธ์ 3(3-0-6) นก.
ชื่อวิชา สัทศาสตร์และสัทวิทยา 3(3-0-6) นก.
ชื่อวิชา การอ่านเพื่อพัฒนาทักษะการเขียน 3(3-0-6) นก.
ชื่อวิชา นิทานและบทกวีสำหรับเด็ก 3(3-0-6) นก.
ชื่อวิชา ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและพัฒนาการเรียนรู้ 2(1-2-3) นก.
ชื่อวิชา ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารมวลชน 3(3-0-6) นก.
ชื่อวิชา ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและการนำเสนองาน 3(3-0-6) นก.
6. ระดับปริญญาโท
ชื่อวิชา ภาษาอังกฤษเพื่อการเขียนงานวิจัย 3(2-2-5) นก.