บุคลากร

นางสาวสูฮัยลา บินสะมะแอ
(ประธานหลักสูตร)

เบอร์ติดต่อ : 095 - 4385588 ()

อีเมล์ : suhaila.b@yru.ac.th


ความเชี่ยวชาญ :

-  อรรถศาสตร์ภาษามลายู

-  โครงสร้างภาษามลายู

-  การเขียนภาษามลายู

ผลงานทางวิชาการ :

Suhaila Binsamaae, Maslida Yusof & Kartini Abd. Wahab. (2018). PERANAN SEMANTIK MAKRO DALAM AYAT PASIF BAHASA MELAYU PATANI BERDASARKAN TEORI ROLE REFERENCE GRAMMER (RRG) : PROCEEDINGS OFINTERNATIONAL CONFERENCE ON LINGUISITCS UKM IIC 2018 13-15th November 2018. (pp. 13-24). Kuala Lumpur : Universiti Kebangsaan Malaysia

สูฮัยลา บินสะมะแอ,พารีดา หะยีเตะ.(2565).การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์นิทานพื้นบ้านสองภาษาสำหรับนักเรียนประถมศึกษา โรงเรียนของรัฐที่ใช้หลักสูตรอิสลามศึกษา (แบบเข้ม) ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารสถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิค (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2565 หมายเลข Online ISSN : 2697- 4487 Print ISSN : 2586-8462

ดร.พารีดา หะยีเตะ
(อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร)

เบอร์ติดต่อ : 080 - 3260955 ()

อีเมล์ : hayeeteh.p@yru.ac.th


ความเชี่ยวชาญ :

-  โครงสร้างภาษามลายู

-  การเขียนภาษามลายู

-  วรรณคดีมลายู

ผลงานทางวิชาการ :

ผลงานชิ้นที่ 1

Pareeda Hayeeteh, AH Shahidi, Rahim Aman. (2 0 2 0 ).Penerimaan Bahasa Melayu dalam Kalangan Pelajar Universiti Rajabhat Yala (Yru) Thailand (Acceptance of Malay Language Among Rajabhat Yala Thailand University Students). Akademika 90(3). 2020:105-115.

 ผลงานชิ้นที่ 2

Pareeda Hayeeteh, Suhaila Binsama-ae & Samsinar Yapha. (2021). Comparison of Thai-Malay Proverbs: A Cognitive Semantics Study. 1ST International Conference on Education, Innovation and Adat Perpatih. 17 November 2021, Institute of Teacher Education Raja Melewar Campus, Malaysia, Online Mode.   

ผลงานชิ้นที่ 3

Pareeda Hayeeteh. (2019). Penguasaan Bahasa Melayu dalam Kalangan Pelajar Universiti Rajabhat Yala, Selatan Thai. Proceedings of Internationl Conference SEMINAR ANTARABANGSA PENDIDIKAN BAHASA, SASTERA, DAN BUDAYA MELAYU KEDUA 2019 (SAPBaSBUM 2): Pembangunan dan Cabaran Masa Depan Pendidikan, Bahaasa, Sastera, dan Budaya Melayu 25-26th March 2019. (pp.664-685) Germany : Goethe University, Frankfurt.    

ผลงานชิ้นที่

พารีดา หะยีเตะ, สูฮัยลา  บินสะมะแอ. (2565). การศึกษาเปรียบเทียบการใช้สัญลักษณ์ในสำนวนไทย - มลายูที่มีความหมายเหมือนหรือคล้ายกัน.วารสารสถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิค (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2565 หมายเลข Online ISSN : 2697- 4487 Print ISSN : 2586-8462

 

นางสาวซำสีนาร์ ยาพา
(อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร)

เบอร์ติดต่อ : 089 - 9784864 ()

อีเมล์ : samseena.y@yru.ac.th


ความเชี่ยวชาญ :

- การวิเคราะห์ภาษามลายู

- การแปล

ผลงานทางวิชาการ :

-  มะนาวาวี มามะ, นุรฮูดา สะดามะ, ซำสีนาร์ ยาพา, อาซียะ วันแอเลาะ และอัฟฟาน สามะ. (2559). รายงานการวิจัย เรื่อง ทัศนคติของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาต่อความสำคัญของภาษามลายูในประชาคมอาเซียน. ยะลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. (ผู้ร่วมวิจัย)

-  พารีดา หะยีเตะ, สุกินา อาแล, สูฮัยลา บินสะมะแอ และซำสีนาร์ ยาพา. (2556). รายงานการวิจัย เรื่อง ความสามารถของการใช้อุปสรรคปัจจัยภาษามลายูในการเขียนของนักศึกษาหลักสูตรภาษามลายูชั้นปีที่ 3 ของมหาวิทยาลัยในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้”. ยะลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. (ผู้ร่วมวิจัย)

-  ซำสีนาร์ ยาพา, อาซียะ วันแอเลาะ, มะนาวาวี มามะ, นุรฮูดา สะดามะ และอัฟฟาน สามะ. (2560, กุมภาพันธ์). ทัศนคติต่อความสำคัญของภาษามลายูในประชาคมอาเซียนและแนวทางการพัฒนาการสอนภาษามลายูของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ฉบับพิเศษ เดือนกุมภาพันธ์ 2560. ยะลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

-  อาซียะ วันแอเลาะ, ซำสีนาร์ ยาพา, มะนาวาวี มามะ, นุรฮูดา สะดามะ และอัฟฟาน สามะ. (2560). ทัศนคติของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาต่อความสำคัญของภาษามลายูในประชาคมอาเซียน. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ ครั้งที่ 4 วันที่ 10 มีนาคม 2560 (หน้า 408 - 416). มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ : สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์.

นายมะนาวาวี มามะ
(อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร)

เบอร์ติดต่อ : 087 - 2930971 ()

อีเมล์ : manavavee.m@yru.ac.th


ความเชี่ยวชาญ :

-  สัณฐานวิทยา

-  สัทศาสตร์ภาษามลายู

-  สรวิทยาภาษามลายู

ผลงานทางวิชาการ :

-  มะนาวาวี มามะ. (2559). สัณฐานวิทยา. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาสัณฐาณวิทยา, ยะลา : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

-  ซำสีนาร์ ยาพา, อาซียะ วันแอเลาะ, มะนาวาวี มามะ, นุรฮูดา สะดามะ และอัฟฟาน สามะ. (2560, กุมภาพันธ์). ทัศนคติต่อความสำคัญของภาษามลายูในประชาคมอาเซียน และแนวทางการพัฒนาการสอนภาษามลายูของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ฉบับพิเศษเดือนกุมภาพันธ์ 2560. ยะลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

-  มะนาวาวี มามะและซามียะห์ บาเละ. (2559). การพัฒนาทักษะการฟังและการพูดภาษามลายูถิ่นปาตานี. ใน สุภาสเมต ยุนยะสิทธิ์ (บก.), ใน หนังสือรวมบทความศึกษาสถานภาพทางภาษาจังหวัดชายแดนใต้, (หน้า 1-12 ). นครปฐม: สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล

-  อาซียะ วันแอเลาะ, ซำสีนาร์ ยาพา, มะนาวาวี มามะ, นุรฮูดา สะดามะ และอัฟฟาน สามะ. (2560). ทัศนคติของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาต่อความสำคัญของภาษามลายูในประชาคมอาเซียน. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ ครั้งที่ 4 วันที่ 10 มีนาคม 2560 (หน้า 408 - 416). มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ : สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์.

-  Mamah, Manavavee & Nadaraning, Hasbullah. (2016). Percanggahan Pentafsiran Suku Kata Secara Fonologis dengan Secara Fonetik. In Prosiding Seminar Antarabangsa Memertabatkan Bahasa Melayu ASEAN Ke-3 25-26 Mei 2016. (pp.658-668). Pattani : Fatoni University.

-  Nadaraning, Hasbullah & Mamah, Manavavee. (2015). Sistem Sapaan dalam Masyarakat Melayu Patani Thailand Selatan. In Prosiding Seminar Internasional 2015 16 - 19 September 2015 (pp.197-220). Yokyakarta : Pustaka Senja.

- Mamah, M. and Hiroboumi, S. (2018). Vokal Beraspirat dan Konsonan Bergeminasi h [hh] ~ [hɦ] dalam Proses Penerbitan Kata Bahasa Melayu. Jurnal Bahasa. 18(1) :121-158

นางนุรฮูดา สะดามะ
(อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร)

เบอร์ติดต่อ : 089 - 7373805 ()

อีเมล์ : nurhuda.s@yru.ac.th


ความเชี่ยวชาญ :

- การอ่านภาษามลายู

- อิทธิพลภาษาต่างประเทศในภาษามลายู

- บทบาทและสถานะภาษามลายูในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้

ผลงานทางวิชาการ :

-  ซำสีนาร์ ยาพา, อาซียะ วันแอเลาะ, มะนาวาวี มามะ, นุรฮูดา สะดามะ และอัฟฟาน สามะ. (2560, กุมภาพันธ์). ทัศนคติต่อความสำคัญของภาษามลายูในประชาคมอาเซียนและแนวทางการพัฒนาการสอนภาษามลายูของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ฉบับพิเศษ เดือนกุมภาพันธ์ 2560. ยะลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

- อาซียะ วันแอเลาะ, ซำสีนาร์ ยาพา, มะนาวาวี มามะ, นุรฮูดา สะดามะ และอัฟฟาน สามะ. (2560). ทัศนคติของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาต่อความสำคัญของภาษามลายูในประชาคมอาเซียน. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ ครั้งที่ 4 วันที่ 10 มีนาคม 2560 (หน้า 408 - 416). มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ : สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์.

- Sadama, Nurhuda. (2015). Acquisition of Basic Malay Language Vocabulary:     A Case Study of Basic Reading among First Year Students of Baan Kholokaway Public School in Narathiwat Province. In Proceedings Language in Diverse Contexts : Pedagogy and Creativity 12 – 13  June 2015. (pp.326-334). Nakorn Si Thammarat: Walailak University

- Sadama, Nurhuda. (20xx). 

นางสาวนูรีฮัน บอเนาะ
(ธุรการหลักสูตร)

เบอร์ติดต่อ : 0884889406 ()

อีเมล์ : nureehan.bo@yru.ac.th